วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15 วันที่ 27/09/2554

สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์

- หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
- การสอนเเบบโครงการ
- ความหมายวิทยาศาสตร์
- สื่อวิทยาศาสตร์
- ทักษะทางวิทยาศาตร์
- ของเล่นวิทยาศาสตร์
- การเขียนเเผนการจัดการเรียนการสอนทางวิทยาศาตร์
- การทำโครงการทางวิทยาศาตร์
- การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
- การจัดนิทรรศการ
- การประเมินทางวิทยาศาตร์ : การสังเกต , สนทนา / ซักถาม , ผลงาน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14 วันที่ 20/09/2554

อาจารย์ตรวจดู Blogger ของนักศึกษาเเต่ละคน เเละให้ไปเเก้ไข / เพิ่มเติม Blogger ของตัวเอง ให้เรียบร้อย

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6 ทักษะ

1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการจำเเนก
3. ทักษะการเเสดงปริมาณ
4. ทักษะการสื่อความหมาย
5. ทักษะการเเสดงความคิดเห็น
6. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา

วัตถุประสงค์

- บอกชื่อ เช่น บอกชื่อของปลาได้
- บอกลักษณะ เช่น บอกลักษณะของปลาได้
- บอกส่วนประกอบ เช่น บอกส่วนประกอบของปลาได้

สาระสำคัญ

- เรื่องที่เราจะสอน เช่น ลักษณะของปลา [ ตัวใหญ่ ตัวเล็ก ]

การจัดกิจกรรม

ขั้นนำ : คำคล้องจอง , นิทาน , ปริสนาคำทาย

ขั้นทำกิจกรรม : กิจกรรมที่ครูเตรียมไว้

ขั้นสรุป : สนทนา / ซักถาม

อาจารย์ให้เเบบฟอร์มการเขียนเเผน ไปปรับเเก้เเผนมาใหม่ นำมาส่งในสัปดาห์ต่อไป

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13 วันที่ 09/02/2554

วันนี้อาจารย์สอนเขียนเเผนวิทยาศาสตร์

สาระการเรียนรู้

- สิ่งที่อยู่รอบตัว
- เรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเด็ก
- บุคคลเเละสถานที่
- ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ

- ร่างกาย
- สังคม
- อารมณ์ - จิตใจ
- สติปัญญา
- ภาษา

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

- การสังเกต
- การจำเเนก
- การวัด
- การสื่อความหมาย
- การคำนวณ

อาจารย์ได้มอบหมายงานกลุ่ม คือ การเขียนเเผนการจัดการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12 วันที่ 30/08/2554

วันนี้ส่งงานการทำโครงการ
อาจารย์ให้ดุซีดีเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ: ความรู้ที่ได้วันนี้
น้ำ เป็นส่วนประกอบของร่างกาย อากาศมีความเกี่ยวข้องกับร่างกายเพราะเนื่องจากอากาศร้อนมากทำให้ร่างกายเสียเหงื่อมากดังนั้นเราควรดื่มน้ำวันละ 7-8 แก้วต่อวัน
สิ่งมีชีวิตต่า ๆ ในโลกมีส่วนประกอบของน้ำหรือไม่

วิธีการทดลอง
1.หาผลไม้พืชผักต่าง ๆ เช่น แอปเปิ้ล แครอท
2.นำมีดมาหันผลไม้เป้นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้เครื่องบดให้ละเอียด
3.แล้วลองบีบดูจะเห็นว่าน้ำออกมาจากผลไม้
จะเห็นได้ว่า น้ำจะมีส่วนประกอบในสิ่งมีชีวิต ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบอยู่ 70 % ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90 % ดังนั้นถ้าคนขาดน้ำจะทำให้รางกายอ่อนเพลีย
ฝนตกจะเกิดจากอะไร

คุณสมบัติของน้ำมี 3 ประการ คือ
1.ของแข็งคือ น้ำแข็ง
2.ของเหลวคือ น้ำที่เราดื่มและใช้อาบทุกวัน
3.ก๊าซคือ ไอน้ำ
น้ำสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นของเหลว จากของเหลวกลายเป็นไอ จากไอกลายเป็นของเหลว

วิธีการทดลองการเปลี่ยนสถานะของน้ำ
1.เริ่มแรกต้มน้ำแข็งให้เดือด น้ำแข็งจะละลายกลายเป็นของเหลว
2.ต้มต่อไปจนมีไอขึ้นมา จากนั้นก็เอาจานใส่น้ำแข็งมาวางไว้บนน้ำที่เราต้มระยะห่างพอสมควร
จะเห็นได้ว่าการเกิดฝนมีลักษณะเหมือนกับการทดลอง ฝนก็คือไอน้ำที่เระเหยขึ้นไปบนอากาศ รวมตัวกันกลายเป็นก้อนเมฆและตกลงมาเป็นฝนสู่พื้นดิน
แอ่งน้ำที่เกิดขึ้นหลังฝนตกแห้งได้อย่างไร

วิธีการทดลอง
1.นำน้ำที่มีปริมาตรเท่ากัน 2 แก้ว
2.แก้วที่ 1 เทลงใส่จาน
แก้วที่ 2 เทลงใส่จาน
3.นำไปตากแดดจะเห็นว่าน้ำในจานแห้งเกือบหมด แต่ในแก้วลดลงนิดเดียว
ดังนั้นแอ่งน้ำที่เกิดขึ้นเมื่อหลังฝนตกจะแห้งไปเมื่อโดนความร้อนของแสงแดด
ธรรมชาติของน้ำ
เมื่อนำกลายเป็นน้ำแข็งจะขยายตัว 12 %

วิธีการทดลอง
1.นำน้ำใส่ลงในแก้วไม่ต้องเต็ม เอากระดาษปิดไว้
2.เมื่อนำไปแช่ในตู้เย็นจะเห็นว่ากลายเป้นน้ำแข็งเต็มแก้วเพราะน้ำแข็งมีโมเลกุลน้อยกว่าน้ำหรือน้ำมีโมเลกุลหนาแน่นกว่าน้ำแข็ง
แรงดันของน้ำ

วิธีการทดลอง
1.เจาะรูที่ขวด 3 รูระดับไม่เท่ากันแล้วเอาเทปกาวแปะไว้
2.จากนั้นเอาน้ำใส่ให้เต็มขวด แล้วเปิดรูที่เจาะไว้ จะเห็นได้ว่าน้ำจากรูด้านล่างจะพุ่งแรงสุดเนื่องจากความกดดันของน้ำด้านบนกดลงมา
จากการทดลอง น้ำที่อยู่ด้านล่างจะถูกกดดันจากน้ำด้านบน ถ้าเราอยู่ในน้ำที่ลึกมากความกดดันจะยิ่งมากขึ้น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11 วันที่ 30/08/2554

อาจารย์พูดเรื่อง แกนทิชชูที่เหลือใช้ว่าสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งของใหม่ได้อีกดังนี้

แกนทิชชู
1. การแก้ปัญหา คือ
- อย่าใช้เยอะ นำมาใช้ใหม่

2. เป็นวิทยาศาสตร์ คือ
- เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว ผลิตจากธรรมชาติ มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ทำให้เกิดพลังงาน

3. ประโยชน์ คือ
นำมาประยุกต์ใช้ใหม่ ขายได้ราคา
-
อาจารย์ได้สั่งงานให้ทำของเล่นวิทยาศาสตร์จากแกนทิชชูมา 1 อย่างต่อ 2 คน และได้สอนเรื่องการสอนแบบโครงการว่ามีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการให้กับเด็กอย่างไรบ้าง ซึ่งการสอนแบบโครงการมีวิธีการสอน ดังนี้
1. เริ่มโครงการ => - เลือกหัวเรื่อง
- อยากรู้เลื่อกอะไร โดยการใช้คำถามแล้วได้คำตอบมา
- ทำอย่างไร
- ทบทวนประสบการณ์เดิม
2. ดำเนินการ => ดำเนินการลงมือปฏิบัติตามที่ได้วางไว้และเก็บร่องรอยหรือถ่ายรูปเก็บไว้
3. สรุป => จากการที่ได้เรียนได้ไปดูมานำมาแสดงผลงานหรือจัดนิทรรศการ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10 วันที่ 23/08/2554



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9 วันที่ 16/08/2554

วันนี้ได้ศึกษาจากวิดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เรื่องความลับของแสง
ความลับของแสง

"ฝนตกหนักมองอะไรข้างนอกไม่เห็น ไฟดับก็จะไม่มีแสงสว่างซึ่งแสงสว่างเกี่ยวข้องกับการมองเห็น ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่างก็จะทำให้เรามองไม่เห็น"
แสงสว่างเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง แสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมาก 300,000 กิโลเมตร/วินาที แสงจะช่วยเราในการมองเห็นได้

วิธีการทดลองการเดินทางของแสง
1.นำกล่องเจาะรูตรงกลาง นำตุ๊กตาใส่ลงในกล่องแล้วปิดฝา ถ้าเรามองไปเราก็จะไม่เห็นอะไรเลย
2.คราวนี้เอาฝากล่องออกเราก็จะมองเห็นตุ๊กตา
3.เจาะรูอีกรู เอาไฟฉายส่องเขาไปเราก็จะมองเห็นวัตถุ

-ที่เรามองเห็นวัตถุต่างๆรอบๆตัวได้ คือ แสงลงมาส่องวัตถุแล้วแสงของวัตถุก็จะสะท้อนเข้ามาในตาของเราทำให้เรามองเห็นวัตถุต่างๆได้
-แสงพุ่งเข้ามาหาเรา จะเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นเส้นตรงและไม่มีทางเปลี่ยนทิศทางได้

คุณสมบัติของแสงมี 3 ประการคือ วัตถุที่แสงส่องผ่านได้และไม่ได้หรือเรียกว่า
1.วัตถุโปร่งแสง แสงทะลุผ่านวัตถุได้บางชนิดเท่านั้น เช่น กระจกมัวๆ
2.วัตถุโปร่งใส เช่น กระจกใส พลาสติกใส
3.วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงไว้ เช่น ไม้ หิน เหล็ก แม้กระทั่งตัวเรา

ประโยชน์ของแสง
1.การเคลื่อนที่ของแสงสามารถทำให้เกิดกล้องฉายภาพ